สวัสดีครับ ในหัวข้อครั้งนี้เราก็จะมาติดตั้งและตั้งค่า DNS Server กันครับ!! ซึ่งหัวข้อนี้ผมคิดว่าจะเป็นประโยชน์สำหรับคนที่กำลังจะเริ่ม Implement เกี่ยวกับ DNS Server นะครับ แล้วไม่เริ่มกันเลยดีกว่า ลุย!!!! ขั้นแรกเลยให้เข้าไปที่เครื่อง Server ที่จะใช้งานในการทำครั้งนี้ ซึ่งของผมนั้นได้ใช้เครื่องที่ลง Windows Server 2016 ไว้นะครับ เมื่อเข้ามาทุกคนก็จะเจอหน้าดังนี้   เมื่อเข้ามาแล้วก็ให้ไปตั้งค่า Network โดยไปที่ Network and Sharing Center -> Properties -> Internet Protocal Version 4 (TCP/IPv4)                 จากนั้นให้กรอก IP Adress ลงไปได้เลยครับ ซึ่งจะต้องกรอกเป็น IP ของเครื่อง Server ที่จะให้ทำ DNS นะครับ จากนั้นในส่วนของ Preferred DNS Server ก็กรอกเป็น IP ของเครื่องเช่นเดียวกัน สามารถดูตรามรูปภาพได้เลย   เมื่อเสร็จแล้วกด OK  จากนั้นให้ไปที่ Manage -> Add Roles...
สวัสดีครับทุกท่าน ในวันนี้เราก็จะมาติดตั้งตัว Kubernetes Cluter บน CentOS 7 กันนะครับ สำหรับการติดตั้งผมจะไม่ได้แนะนำการสร้าง Resouce สำหรับ CentOS นะครับ ผมจะคิดว่าทุกท่านมี Resouce แล้ว เรามาเริ่มกันเลยดีกว่า!!! #Step 1 : Change hostname to master1 hostnamectl set-hostname master1 #Step 2 : Disable firewalld service systemctl status firewalld ## type yourself don't copy & paste systemctl stop firewalld ## type yourself don't copy & paste systemctl disable firewalld #Step 3 : turns off the swap memory sudo swapoff -a #Step 4 : updates all...
สวัสดีครับ ในหัวข้อวันนี้ผมก็จะพามาแก้ไขเกี่ยวกับ Unable to launch the application ใน java สำหรับผู้ที่ใช้ iDRAC แล้วพบว่าเมื่อกด launch เพื่อเข้าไปบริหารจัดการ Server แล้วเกิดปัญหาไม่สามารถเข้าถึง Virtual Console Client ได้ Error ตามรูปภาพข้างล่าง           ซึ่งผมก็ได้เจอปัญหานี้ครับและได้ลองหาวิธีแก้ไขเพื่อให้สามารถเข้าไปจัดการ Server ให้ได้ เนื่องจากผมอยากบริหารจัดการ ตั้งค่าต่างๆ ผ่าน iDRAC Console มากกว่าเพราะสะดวกและง่าย ซึ่งเมื่อลองใช้กับเจอ Error ดังกล่าว วิธีแก้ไขของผมมีดังนี้ครับ ขั้นตอนแรก ต้องทำการติดตั้ง Java (Oracle JRE 1.8._xxx) จากนั้นให้ไปที่ Configure Java -> Security -> Exception Site List                       จากนั้นคลิ๊กที่ Edit Site List ให้ทำการเพิ่ม IP Address ที่ได้ตั้งไว้ของ iDRAC ได้เลยครับ (https://xxx.xxx.xxx.xxx:433) เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วให้กด...
สวัสดีครับทุกท่าน วันนี้ผมมีก็มีเรื่องเกี่ยวกับการสอบ Certificate ที่ผมพึ่งไปได้สอบเมื่อวันที่ 15 Dec ที่ผ่านมาเล่าให้ฟังครับ สำหรับผู้ที่มีความสนใจหรือผู้ที่กำลังศึกษาและเตรียมตัวที่จะไปสอบตัวนี้อยู่ ต้องบอกเลยครับว่าผมใช้เวลาในการเตรียมตัว 2 สัปดาห์ในศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ Microsoft Azure ซึ่งผมมีความรู้เกี่ยวกับ Azure น้อยมาก แทบไม่เคยจับหรือใช้งานเลย ต้องบอกก่อนเลยครับว่าผมได้มีประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้งาน Cloud มาอยู่บ้าง ซึ่งที่ใช้งานหลักๆ ก็จะเป็น AWS โดยที่ Azure ผมไม่เคยได้ใช้งานเลยแต่เคยได้ยินเกี่ยวกับ Service บางตัวอยู่บ้าง ซึ่งตอนแรกผมก็มีความกังวลพอสมควร เพราะได้ทำการลงทะเบียนและกำหนดวันสอบ สถานที่สอบ ไว้เรียบร้อยแล้ว ทำให้ผมต้องรีบศึกษา ทำความเข้าใจเยอะพอสมควร ในวันนี้ผมก็จะมาแชร์สิ่งที่ผมได้ศึกษาและเตรียมพร้อมสำหรับการสอบให้กับทุกท่านครับ วิธีเตรียมตัวและแหล่งที่ใช้ศึกษา โดยที่แรกเลยที่ใช้ศึกษาก็คือ Microsoft Learn ในนี้ก็จะมีหลากลาย Modules ที่ทุกท่านสามารถศึกษาเพิ่มเติมในการสอบ Certification ตัวอื่นๆ ของ Microsoft ได้ด้วย ซึ่งในวันนี้ผมจะพูดถึงหัวข้อต่างๆของ AZ-900 โดยทุกท่านจะได้รู้เกี่ยวกับ Cloud Concepts Core Azure services Azure management and governance features and tools ใน...
สวัสดีครับทุกท่าน หัวข้อในวันนี้ผมก็จะมาแนะนำวิธีการตั้งค่าบริดจ์โหมด (Bridge Mode) นะครับ ทำไม? ต้องทำบริดจ์โหมด บริดจ์โหมด ทำหน้าที่เป็นเหมือนสะพาน เชื่อมโยง โดยผมขอยกตัวอย่าง กรณีของผมเองนะครับ ซึ่งเมื่อไม่นานผมได้ซื้อเราเตอร์มาใหม่ โดยความต้องการของผมผมต้องการที่จะจัดการทุกอย่างด้วยเราเตอร์ของผมเอง และอยากทำให้ตัวเราเตอร์ของผู้ให้บริการเป็นแค่สะพานสำหรับเชื่อมมายังเราเตอร์ของผมเอง โดยการจัดการทุกอย่างจะอยู่ที่เราเตอร์ของผมเท่านั้น ซึ่งการทำบริดจ์โหมดนั้นจะทำให้เราเตอร์ของผู้ให้บริการ (ISP) ไม่ต้องการทำคิดอะไรมาก การคิดคำนวณการจ่าย IP Address ต่างๆ (DHCP) จะทุกจัดการผ่านเราเตอร์ของผมเอง วิธีการตั้งค่า ทำการเปิด Brower ขึ้นมาจากนั้นพิมพ์ที่ช่องสำหรับกรอก URL โดยพิมพ์ 192.168.1.1 เพื่อทำการเข้าไปสู่หน้าปรับตั้งค่าเราเตอร์นั่นเอง หากไม่สามารถเปิดได้ให้ลองตรวจสอบเครื่องว่าคอมพิวเตอร์ได้อยู่ในวงแลนเดียวกับเราเตอร์หรือไม่ ซึ่งปกติจะอยู่ในวงเดียวกัน     ทำการกรอก User Name และ Password สำหรับเข้าสู่การจัดการเราเตอร์ ปกติแล้วของผู้ให้บริการ 3BB จะมีติดแปะไว้อยู่ที่ด้านหลังเราเตอร์ไว้   เมื่อเข้ามาสู่หน้าแรกก็จะเจอในส่วนของ Information ต่างๆ ที่บอกรายละเอียดของเราเตอร์ จากนั้นในไปที่เมนูที่ชื่อว่า WAN > WAN Configuration   ให้ทำ Disable ค่าที่ได้กำหนดไว้ก่อนหน้าหรือทำการ Delete ออกก็ได้ ในส่วนของผมผมได้ใช้วิธีการ Disable แทน จากนั้นให้ทำการกดที่ปุ่ม...
638FansLike
528FollowersFollow
101FollowersFollow

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save